-
Recent Posts
Recent Comments
Archives
Categories
Meta
Monthly Archives: October 2018
ค่าประมาณค่าใช้จ่ายจากการไฟฟ้า
ในการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าเอง เราสามารถดำเนินการติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในเองได้ทุกอย่าง โดยเราจะเหลือระยะสายในการเชื่อมต่อกับระบบไฟฟ้าภายนอกที่เรา ระยะควรไม่เกิน 20 เมตร ในส่วนของด้านนอกจะเป็นในส่วนพื้นที่ของการไฟฟ้าดำเนินการ เพราะเป็นพื้นที่สาธราณะ เราไม่สามารถดำเนินการได้ ซึ่งส่วนนี้จะมีค่าใช้จ่ายดำเนินการจาการไฟฟ้าเรียกเก็บมาที่ผู้ขอใช้ไฟ โดยค่าใช้จ่ายจะประกอบหลักๆดังนี้ – ค่ายื่นแบบ หรือตรวจสอบแบบ ( 5,350 บาท ) จ่ายเมื่อทำการยื่นแบบกับการไฟ้ฟ้า ทางเจ้าหน่้าที่แผนกบริการจะทำการตรวจอสบเอกสารและแบบถ้าเรียบร้อยก็จะแจ้งให้ไปชำระงิน หลังจากนั้งจะได้ใบเสร็จและเลขคำขอ เก็บรายละเอียดส่วนนี้ไว้ตามเรื่อง ทางเจ้าหน้าที่จะทำการออกไปสำรวจเพื่อประมาณการ ค่าใช้จ่ายในการขายเขตต้องใช้อะไรบ้างในการจ้ำจ่ายไฟเข้าระบบไฟฟ้าแรงสูงของเรา – โดยคต่าประมาณการขจะมี ค่าสร้างระบบไฟฟ้าภายนอก ก็ณีปักแซมไลน์แค่ต้นเดียวก็ประมาณ ( 14,000 – 25,000 ) – ค่าบริการ HL ฮอทสติก หรือ HOTLINE จ้ำสายโดยไม่ดับไฟ … Continue reading
เหตุที่ต้องโรยหินกรวด (เบอร์ 2) ลงในลานหม้อแปลง ?
การไฟฟ้ากำหนดให้ … ลานหม้อแปลงที่เป็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำมัน พื้นของลานหม้อแปลงต้องใส่หินเบอร์ 2 หนาไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร ยกเว้นส่วนที่ติดตั้งเครื่องอุปกรณ์ เพื่ออะไรใครรู้เจตนาที่แท้จริงบ้าง ช่วยบอกที และทำไมต้องหินเบอร์ 2 เบอร์อื่นใช้แทนกันได้ไหม สงสัยจัง… ?????? เรื่องการใส่หินไปในลานหม้อแปลงนั้น เท่าที่ผมเข้าใจน่ามีประโยชน์ ประมาณนี้นะ (แต่ก็ยังไม่สามารถหาคำตอบที่แท้จริง หากใครรู้ช่วยบอกหน่อยนะครับ) 1. เพื่อให้น้ำมันหม้อแปลงซึมลงใต้หินเมื่อเกิดรั่ว หรือหรือเมื่อหม้อแปลงระเบิดและเกิดเพลิงไหม้น้ามันหม้อแปลง 2. เพื่อป้องกันพวกสัตว์เลื้อยคลาน เพราะหินมันจะมีคมมีเหลี่ยม ทำให้สัตว์ไม่ชอบเข้าไปในพื่นที่นั้น 3. เพื่อลดความหนาแน่นของสนามไฟฟ้าให้ลดลง เพราะโดยปกติประจุไฟฟ้าจะเกาะอยู่ตามพื้นผิวของวัตถุ (ตามที่เคยเรียนในวิชา Electromag.) ยกตัวอย่างว่า หากบริเวณลานหม้อแปลงมีประจุไฟฟ้าอยู่ เช่น … Continue reading